วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558

หน่ยวการเรียนรู้ที่ 1 สังคม

      โครงสร้างทางสังคม  คือส่วนต่าง ๆ  ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์  ส่วนประกอบดังกล่าวจะต้องเป็นเค้าโครงที่ปรากฏในสังคมมนุษย์ทุก ๆ  สังคม  อ่านเพิ่มเติม



การจัดระเบียบทางสังคม   คือวิธีการที่คนในสังคมกำหนดขึ้นมาเพื่อให้คนที่มาอยู่รวมกันประพฤติปฏิบัติ อ่านเพิ่มเติม


หน่ยวการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงแและการพัฒนาสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี หรืออื่นๆได้เปลี่ยนแปลงไป  อ่านเพิ่มเติม


ปัญหาสังคม  คือ สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วัฒนธรรม

วัฒนธรรม หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ ต่อการดำเนินชีวิต อ่านเพิ่มเติม

ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะ  ที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม  อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองดี

พลเมืองดี คือ เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย อ่านเพิ่มเติม
คุณลักษณะของพลเมืองดี คือ เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้  อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

รัฐ คือการจัดตั้งองค์กรทางการเมืองสืบเนื่องมาจากการที่มนุษย์รวมตัวกันขึ้นเป็นสังคม จุดเริ่มต้นของการรวมตัวเป็นสังคม อ่านเพิ่มเติม
สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย  เกิดการประท้วงต่อต้านรัฐบาลตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึงพฤษภาคม 2557 จัดระเบียบโดย กปปส.   อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กฎหมาย

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตัวเองและครอบครัว  กฎหมาย คือ  กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น  หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ  เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ  เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม อ่านเพิ่มเติม

กฎหมายเกี่ยวกับชุมชนและประเทศ   พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาซึ่งประกาศบังคับใช้เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒  อ่านเพิ่มเติม





หน่ยวการเรียนรู้ที่ 7 สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน  หมายถึง สิทธิขั้นพื้นฐานที่พึงมีโดยเสมอภาคกัน เพื่อการดำรงชีวิตได้อย่าง มีศักดิ์ศรีมีโอกาสเท่าเทียมกันในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่าง เต็มที่และสร้างสรรค์  อ่านเพิ่มเติม
สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย  ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง"  อ่านเพิ่มเติม